ผู้เขียน หัวข้อ: กลูต้าฉีดลดราคา โบท็อกซ์โปรโมชั่น 087-3512514 พี่ปูเป้ Filorga สกินบูสเตอร์  (อ่าน 1234 ครั้ง)

0809038127

  • บุคคลทั่วไป
ก่อนอื่นผมขอน้อมนำบทความ
ของ น้องน้ำหนึ่ง(ณัฐพล เริ่มฤกษ์)
มาให้เพื่อนตำรวจและทุกคนได้ศึกษากัน
บทความตำรวจไทยกับปัญหาความเครียด
โดย น้องน้ำหนึ่ง(ณัฐพล เริ่มฤกษ์)

ตำรวจเป็นอาชีพหนึ่งที่มีภาระงานหนัก
ต้องให้บริการประชาชนตลอด 24 ชั่วโมง
การพักผ่อนไม่เป็นเวลา
ตำรวจบางตำแหน่งจำเป็นต้องสัมผัส
มลภาวะหรือมีความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน
ส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพกาย
นอกจากนั้น ตำรวจยังถูกตั้งความหวัง
จากสังคมว่าต้องเป็นผู้มีคุณธรรม
จริยธรรม จิตสำนึกที่ดี ทำให้ตำรวจ
ต้องรับแรงกดดันทั้งจากหน้าที่ราชการ
สังคม และครอบครัวอยู่ตลอดเวลา
จนทำให้เกิดภาวะเครียดและส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตได้ง่ายอีกด้วย
ปัญหาที่พบได้บ่อย ได้แก่
1. การพยายามทำร้ายตัวเองและฆ่าตัวตาย แม้การฆ่าตัวตายเกิดขึ้นได้กับทุกอาชีพ แต่ตำรวจมักมีอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จมากกว่าอาชีพอื่น เนื่องจากตำรวจมีอาวุธปืนอยู่ใกล้ตัวและต้องปฏิบัติงานใกล้ชิดกับความรุนแรงในคดีต่าง ๆ จากสถิติตั้งแต่ปี 2551-2564 มีตำรวจเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายมากถึง 443 นาย โดยสาเหตุเกิดจากปัญหาสุขภาพ 129 นาย ปัญหาอื่น ๆ 121 นาย ปัญหาครอบครัว 98 นาย ปัญหาส่วนตัว 39 นาย ปัญหาหนี้สิน 38 นาย และปัญหาเรื่องงาน 18 นาย
โดยส่วนใหญ่ตำรวจที่มีแนวโน้มทำร้ายตัวเองมักมีปัญหาทุกข์ใจ ประสบเหตุการณ์ร้ายในชีวิต ท้อแท้ หมดหวัง ไม่มีที่พึ่ง คิดว่าชีวิตไม่มีความหมาย มีความวิตกกังวลสูง มีพฤติกรรมหุนหันพันแล่น หรือเคยมีประวัติเป็นผู้ป่วยจิตเวช เคยพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน หรือมีบุคลิกภาพอ่อนแอ ต้องพึ่งพาผู้อื่น หรืออาจใช้สารเสพติด นอกจากนั้นอาจมีสัญญาณเตือนถึงความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายมาก่อน เช่น พูดถึงความตาย หรือบ่นว่าอยากตาย ไม่อยากเป็นภาระของใคร มีนิสัยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างชัดเจน มีปัญหาด้านการงาน การเงิน หนี้สิน มีปัญหานอนไม่หลับ
2. การมีพฤติกรรมก้าวร้าว โดยลักษณะพฤติกรรมที่แสดงให้เห็นได้ชัด คือ มีสีหน้าบึ้งตึง แววตาไม่เป็นมิตร แสดงท่าทางไม่พอใจ กระวนกระวาย อยู่นิ่งไม่ได้ พูดโต้ตอบด้วยน้ำเสียงห้วน เสียงดังขึ้นเรื่อย ๆ ใช้คำพูดกระแทกกระทั้น หยาบคาย ทะเลาะวิวาท ทำลายข้าวของ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ดังนั้น หากพบเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงควรระมัดระวังอาวุธที่ติดตัวเจ้าหน้าที่ ไม่ควรเข้าหาเพียงลำพัง ไม่ควรเข้าไปอยู่ในห้องที่ปิดหรือแคบ และไม่ควรพูดด้วยเสียงที่ดัง หรือข่มขู่
3. การมีปฏิกิริยาอ่อนล้าและเครียดจากการปฏิบัติงานเป็นเวลานานหรืออยู่ในภาวะกดดัน โดยปกติปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมักเกิดได้ทั้งอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดหลัง หายใจแรง ปั่นป่วนในกระเพาะอาหาร เหม่อลอย และอาการทางจิตใจและอารมณ์ เช่น หงุดหงิด ความจำไม่ดี ตกใจตื่นเนื่องจากฝันร้าย แต่หากมีอาการเหล่านี้แล้วแต่ยังคงสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างดีในภาวะกดดันจะถูกจัดว่ายังอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ทั้งนี้ หากอาการที่แสดงออกมีมากกว่าปกติ เช่น ต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลา ร่างกายบางส่วนทำหน้าที่ไม่ได้ทั้งที่อวัยวะนั้นปกติ ตัวแข็งเกร็งในขณะอยู่ในภาวะอันตราย หมดแรง หรือขาดความสนใจในการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย กลัวการนอนหลับ ไม่อยากอาหาร ไม่สนใจสิ่งใด ๆ อาการเหล่านี้เป็นสัญญาณที่แจ้งเตือนว่าตำรวจนายนั้นจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ
ในเบื้องต้นหากตำรวจมีความเครียด กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด โรงพยาบาลตำรวจ ได้แนะนำกลยุทธ์การจัดการความเครียดเพื่อเป็นการดูแลตนเองเบื้องต้น 8 ข้อ ได้แก่ 
• 1. แยกแยะจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและความเครียด 
• 2. รู้จักปล่อยวางในปัญหาเล็กน้อยเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาที่สำคัญกว่า 
• 3. รู้ตนเองว่าตอนนี้ตนกำลังมีความเครียด 
• 4. พูดระบายความเครียด 
• 5. มีอารมณ์ขัน 
• 6. รู้จักให้กำลังใจและปลอบใจตนเอง 
• 7. ออกกำลังกาย 
• 8. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ซึ่งแนวทางดังกล่าวสามารถนำมาปรับใช้ได้กับประชาชนโดยทั่วไปด้วย
ที่ผ่านมาสำนักงานตำรวจแห่งชาติได้เน้นให้ตำรวจทุกนายตรวจสุขภาพประจำปี ทั้งสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิต และโรงพยาบาลตำรวจได้มีการตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาเฉพาะทาง โดยมีเจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำกับตำรวจทั่วประเทศผ่านทั้งทางเพจเฟซบุ๊ก Depress We Care ซึมเศร้าเราใส่ใจ หรือโทร 08 1932 0000 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันนอกจากการฆ่าตัวตายของตำรวจแล้ว ยังมีกรณีที่ตำรวจใช้อาวุธปืนก่อเหตุรุนแรงขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติกำหนดให้มีมาตรการเร่งด่วนโดยการสุ่มตรวจสุขภาพจิตและสุขภาพร่างกายของข้าราชการตำรวจอย่างละเอียด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ประชาชน ซึ่งปัญหาสุขภาพจิตของตำรวจเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญและควรได้รับการดูแลอย่างเร่งด่วน เพื่อป้องกันไม่ให้ตำรวจก่อเหตุที่ไม่คาดฝันขึ้น
โดย น้องน้ำหนึ่ง(ณัฐพล เริ่มฤกษ์)
ในเมื่อ น้องน้ำหนึ่ง(ณัฐพล เริ่มฤกษ์)
เข้าใจ และ ใส่ใจ ตำรวจไทยทุกคน
ผมเชื่อว่าตำรวจไทยทุกคน ยอมเข้าใจ
และ เชื่อใจ น้องน้ำหนึ่ง(ณัฐพล เริ่มฤกษ์)
ว่า น้องน้ำหนึ่ง(ณัฐพล เริ่มฤกษ์)
ไม่ใช่ผู้ต้องหาในคดีฉ้อโกงอย่างแน่นอน
ผมเองก็ยอมรับว่าผมทำการสอบสวนคดีนี้
มีบางช่วงที่ผมโมโห เพราะว่าแม่ของ
ผู้ต้องหาโทรมาสอนผม ทำให้นึกถึงวันเก่าๆ
เมื่อก่อนผมเป็นตำรวจยศเล็ก ผมต้องฟัง
คำสั่งจากผู้บังคับบัญชา
และ นักการเมืองท้องถิ่น ต้องอดทนรอ
วันที่จะได้เป็นสารวัตรใหญ่
จนตอนนี้ผมเป็นสารวัตรใหญ่แล้ว
แม่ของ นายธนินท์ธร อมรวัฒนากรณ์
ยังกล้ามาสอนผมอีก ผมก็เลือดขึ้นหน้าสิ

แต่ไม่เป็นไรเพราะวันนี้ เวลา17.05น.
น้องน้ำหนึ่ง(ณัฐพล เริ่มฤกษ์) ได้นำหลักฐาน
มามอบให้ผมที่ สน.ลาดพร้าว
ระบุชัดว่าผู้ก่อเหตุฉ้อโกง
คือ นายธนินท์ธร อมรวัฒนากรณ์

นางวันตา อินทร์แพง คือผู้เสียหาย
ถูก นายธนินท์ธร อมรวัฒนากรณ์ หลอกให้
โอนเงินจ่ายค่าทุเรียน




เลขที่บัญชี ธนาคารทหารไทยธนชาต
ระบุชัดชื่อเจ้าของบัญชี
คือ นายธนินท์ธร อมรวัฒนากรณ์
เลขประจำตัวประชาชน 1100400349997
เลขหลังบัตรประชาชนที่ใช้ยืนยันเปิดบัญชี
คือ JC4186558989
วันที่เปิดคือ 1ธันวาคม2565
ผมจึงสรุปได้แล้วว่าคนร้ายในคดีนี้
คือ นายธนินท์ธร อมรวัฒนากรณ์
วันนี้ 26เมษายน2568 ผมจะทำสรุปสำนวน
ให้เสร็จวันนี้ แล้วพรุ่งนี้ 27เมษายน2568
นำขึ้นเสนอ ผกก.สน.ลาดพร้าว อนุมัติฟ้อง
วันที่ 28เมษายน2568 นำสำนวนส่งอัยการ
เพื่อขอศาลอนุมัติหมายจับผู้ต้องหา